วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
แง่คิดดีๆ จาก พระอาจารย์ ว.วัชรเมธี
สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ช่วงนี้ก็ใกล้เข้าสู่เทศกาลเข้าพรรษากันแล้วนะครับ เทศกาลแห่งบุญ ของเหล่าชาวพุทธทั้งหลาย 3 เดือนแห่งการละเว้นอบายมุข ถ้าใครสามารถปฏิบัติได้ก็จะเกิดประโยชน์กับตัวเองมากมายเลยทีเดียว ในช่วงจะเข้าเทศกาลเข้าพรรษา ในวันที่ 31 กรกฏาคม 2558 ที่จะถึงนี้ผมก็มีหลักธรรมคำสอนดี จากหนังสือ คาถาชีวิต 2 โดย ท่าน พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชีรเมธี) มาฝากกันครับ เรื่องเกี่ยวกับคุณค่าของที่ชีวิตที่พระพุทธองค์ท่านได้ตรัสสั่่งสอนไว้ ดังนี้ครับ
""พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า สิ่งที่เป็นไปได้ยากในโลกนี้มี 4 อย่าง
1.ยากเหลือแสน กว่าจะได้เกิด เป็น มนุษย์
2.ยากเหลือแสน กว่าจะดำรงชีวิตรอด
3.ยากเหลือแสน กว่าจะได้ฟังสัจธรรม
4.ยากเหลือแสน กว่าพระพุทธองค์จะเสด็จอุบัติ
พระอาจารย์ ว.วชีรเมธี อธิบายความไว้ว่า
การได้เกิดมาเป็นมนุษย์กับเขาชาติหนึ่ง ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ ครั้นได้เกิดมาเลย จะสร้างเนื้อสร้างตัวจนประสบความสำเร็จก็ไม่ใช่เรื่องง่ายๆ กว่าที่พระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งจะเสด็จอุบัติขึ้นมาเผยแผ่สัจธรรมก็เป็นเวลาหลายแสนกัปป์ หลายกัลป์ ครั้นอยุ่ในยุคสมัยแห่งพุทธกาลแล้วจะมีโอกาสได้ฟังสัจธรรมคำสอนที่เป็นแก่นแท้ก็ไม่ใช่ง่ายอีก เพราะทุกยุคทุกสมัยย่อม ""สัทธรรมปฏิรูป"" (ธรรมเนียม) จากผู้รู้จริงบ้าง ไม่รู้จริงบ้าง เผยแผ่คละเคล้าปะปนกันไป หากไม่มีสติปัญญาจริงๆ ก็ยากที่จะเข้าถึงแก่นธรรมอันเป็นเนื้อแท้ ที่พระพุทธองค์ทรงสอนเอาไว้ ดังนั้นหากใครได้เกิดมาเป็นคนกับเขาชาติหนึ่งแล้ว จึงนับว่าเป็นโชคดีของชีวิต เมื่อมีโชคดีถึงเพียงนี้แล้ว ก็ควรใช้ชีวิตนี้เพื่อต่อยอดความดีให้ยิ่งๆ ขึ้นไปจนถึงที่สุดแห่งความดี คือ พระนิพพาน
จากบทความในข้างต้น คงเห็นแล้วนะครับว่า พระพุทธองค์ ทรงให้ความสำคัญกับการมีชีวิตเพียงได กว่าที่เราจะได้เกิด กว่าพ่อแม่จะเลี้ยงเราให้โตได้ ก็แสนยากลำบาก ผมได้เห็นข่าวเด็กๆ หรือ คนสมัยนี้ คิดฆ่าตัวตายกันเป็นว่าเล่น มองเห็นชีวิตเป็นของไร้ค่า เจอปัญหาอะไรนิดๆหน่อยๆ ก็อยากจะตายเพื่อหนี้ปัญหา แล้วรู้สึกหดหู่ใจจริงๆ ครับ บางเรื่องเป็นสิ่งที่เล็กน้อยมาก อย่างเช่น แฟนทิ้ง เรียนไม่เก่ง เรียนไม่ได้ อะไรแบบนี้ ก็คิดสั้น ฆ่าตัวตายละ
เราเป็นชาวพุทธควรน้อมนำพระธรรมคำสอนของพระพุทธองค์ ไปปฏิบัติกันนะครับ มองปัญหาทุกอย่างด้วยเหตุและผล ทุกๆปัญหาย่อมจะมีทางออกเสมอ ปฏิบัติกันตาม วิถีของชาวพุทธ ครับ ทุกชีวิตนั้นมีค่าเสมอ ไม่ว่า จะเป็น คนจน คนรวย ทุกคนต่างเท่าเทียมกัน มองหาคุณค่าของตัวเองให้เจอแล้วนำมันออกมาใช้ให้เกิดประโยชน์ครับ แล้วเราจะไม่รุ้สึกว่าชีวิตเราไร้ค่าแน่นอน ฝากให้ทุกท่านนำไปเป็นข้อคิดเพื่อพัฒนาตัวเองนะครับ เมื่อโลกมันหมุนไปทุกๆวัน ตัวเราก็ต้องหมุนตามโลกให้ทัน อย่าหยุดที่จะเรียนรู้ครับ
ขอบคุณที่ติดตามครับ...............
วันพฤหัสบดีที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
ระบบ Analog และ Digital
ช่วงนี้หลายท่านคงจะทราบข่าวเกี่ยวกับการเปลี่ยนถ่ายระบบการส่งสัญญาน ของ โทรทัศน์ในบ้านเรานะครับ จากเดิมที่ใช้การส่งสัญญานในระบบ อนาล็อก มาเป็น ระบบ ดิจิตอล ซึ่งการเปลี่่ยนถ่ายกำลังดำเนินการไป คาดว่าจะแล้วเสร็จภายในปี 2563 ครับ และจะงดออกอากาศในระบบ อนาล็อก ทั้งหมดในปี 2558 ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามมติความเห็นชอบ ของประชาคมอาเซียน ครับ เชื่อว่าหลายท่านคงมีคำถามในใจนะครับว่า ทำไม? เราถึงต้องเปลี่ยนระบบ และ ระบบทั้งสองแบบนี้ มันแตกต่างกันยังไง และมีข้อดีข้อเสียอย่างไร ถึงจำเป็นต้องเปลี่ยน บทความนี้เราจะมาไขความกระจ่างกันครับ
Analog and Digital
สัญญาณที่ใช้ในระบบสื่อสารแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือสัญญาณอนาลอกและสัญญาณดิจิตอล สัญญาณอนาลอกเป็นสัญญาณที่มีขนาดเป็นค่าต่อเนื่องส่วนสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณ ที่มีขนาดเปลี่ยนแปลง เป็นค่าของเลขลงตัว โดยปกติมักแทนด้วย ระดับแรงดันที่แสดงสถานะเป็น "0" และ "1" หรืออาจจะมีหลายสถานะ ซึ่งจะกล่าวถึงในเรื่องระบบสื่อสารดิจิตอล มีค่าที่ตั้งไว้ (threshold) เป็นค่าบอกสถานะ ถ้าสูงเกินค่าที่ตั้งไว้สถานะเป็น "1" ถ้าต่่ากว่าค่าที่ตั้งไว้ สถานะเป็น "0" ซึ่งมีข้อดีในการท่าให้เกิดความผิดพลาดน้อยลงเนื่องจากสัญญาณรบกวนต้องมีค่าสูงกว่าค่าที่ตั้งไว้สถานะจึงจะเปลี่ยน ตัวอย่างเช่น ในระบบดิจิตอล สถานะของข้อมูลเป็น "0" สัญญาณรบกวนมีค่า 0.2 โวลต์ แต่ค่าที่ตั้งไว้เท่ากับ 0.5 โวลต์ สถานะ ยังคงเดิมคือเป็น "0" ในขณะที่ระบบอนาลอก สัญญาณรบกวนจะเติมเข้าไปใน สัญญาณจริงโดยตรง กล่าวคือสัญญาณจริงบวกสัญญาณรบกวนเป็นสัญญาณขณะนั้นท่าให้สัญญาณรบกวนมีผลต่อสัญญาณ จริงและมีความผิดพลาดเกิดขึ้นกระแสไฟฟ้าแบ่งออกได้เป็นไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ หลาย ๆ คนอาจจะคิดว่าไม่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับระบบสื่อสารโทรคมนาคม เมื่อกล่าวถึงสัญญาณในเชิงประยุกต์ก็ อาจจะจ่าแนกใน หมวดหมู่นี้ได้ การไหลของไฟฟ้ากระแสตรงในวงจรอย่างสม่่าเสมอไม่สามารถส่งข่าวสารได้ แต่เมื่อไร ที่ท่าการควบคุมกระแสให้เป็นพัลส์โดยการเปิดสวิตซ์ กระแสจะลดลงสู่ศูนย์และปิดสวิตซ์ กระแสก็จะมีค่าค่าหนึ่ง พัลส์ของกระแสถูกผลิตตามรหัสที่ใช้แทนแต่ละตัวอักษรหรือตัวเลย โดยการรวมของพัลส์ การท่างานของสวิตซ์สามารถส่งข้อความใด ๆ ได้ ตัวอย่างที่เห็นได้เสมอได้แก่ รหัสมอร์ส เป็นต้น ส่วนไฟฟ้ากระแสสลับในรูปของคลื่นอยู่ในจ่าพวกคลื่นวิทยุมีการใช้งานอย่าง กว้างขวางเป็น ที่รู้จักกันดี1. สัญญาณแบบ Analog จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่องที่ทุกๆ ค่าเปลี่ยนแปลงไปของระดับสัญญาณจะมีความหมาย การส่งสัญญาณแบบ Analog จะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่ายกว่า เนื่องจาก ค่าทุกค่าที่ถูกน่ามาใช้งานั้นเอง ซึ่งสัญญาณแบบอนาล็อกนี้จะเป็นสัญญาณที่สื่อกลาง ในการสื่อสาร ส่วนมากใช้อยู่ เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ เป็นต้น
2. สัญญาณแบบ Digital จะประกอบขึ้นจากระดับสัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณระดับสูงสุดและสัญญาระดับต่่าสุด ดังนั้นจะมีประสิทธิภาพและ ความน่าเชื่อถือสูงกว่าแบบ Analog เนื่องจากมีการใช้งานเพียง 2 ค่าเพื่อน่ามาตีความหมายเป็น On/Off หรือ 1/0 เท่านั้นซึ่งสัญญาณดิจิตอลนี้ จะเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการท่างานและติดต่อสื่อสารกันในทางปฏิบัติ จะสามารถใช้เครื่องมือในการแปลงระหว่างสัญญาณ ทั้งสองแบบได้ เพื่อช่วยให้สามารถส่งสัญญาณดิจิตอลผ่านสัญญาณพาหะที่เป็นอนาล็อก เช่น สายโทรศัพท์หรือคลื่นวิทยุ การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก จะเรียกว่า โมดูเลชั่น (Modulation) เช่น การแปลงสัญญาณแบบ Amplitude modulation (AM) และ Frequency Modulation (FM) เป็นต้น ส่วนการแปลงสัญญาณ แบบอนาล็อกเป็นดิจิตอล จะเรียกว่า ดีโมดูเลชั่น (Demodulation) ตัวอย่างของเครื่องมือการแปลง เช่น MODEM(MOdulation DEModulation) นั้นเอง
การส่งสัญญาณแบบอนาลอกและดิจิตอล
1. สัญญาณแบบอนาลอก (Analog) จะเป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ที่ทุกๆค่าที่เปลี่ยนแปลงไป ของระดับสัญญาณจะมีความหมาย การส่งสัญญาณแบบอนาลอกจะถูกรบกวนให้มีการแปลความหมายผิดพลาดได้ง่ายกว่า เนื่องจากค่าทุกค่าถูกน่ามาใช้งานนั่นเอง ซึ่งสัญญาณแบบอนาลอกนี้จะเป็นสัญญาณ ที่สื่อกลางในการสื่อสารส่วนมากใช้อยู่ เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ เป็นต้น
2. สัญญาณแบบดิจิตอล (Digital) จะประกอบขึ้นจากระดับสัญญาณเพียง 2 ค่า คือสัญญาณ ระดับสูงสุดและสัญญาณระดับต่่าสุด ดังนั้นจะมีประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือสูงกว่าแบบอนาลอก เนื่องจากมีการใช้งานค่าเพียง 2 ค่า น่ามาตีความหมายเป็น on/off หรือ 1/0 เท่านั้น ซึ่งสัญญาณดิจิตอลนี้ จะเป็นสัญญาณที่คอมพิวเตอร์ใช้ในการท่างานและติดต่อสื่อสารกัน
ในทางปฏิบัติ จะสามารถใช้เครี่องมือในการแปลงระหว่างสัญญาณทั้ง 2 แบบได้ เพื่อช่วยให้สามารถส่งสัญญาณดิจิตอลผ่านสัญญาณพาหะที่เป็นอนาลอก เช่นสายโทรศัพท์หรือคลื่นวิทยุ การแปลงสัญญาณแบบดิจิตอลไปเป็นอนาลอกจะเรียกว่า Modulation เช่น การแปลงแบบ Amplitude Modulation (AM) และ Frequency Modulation (FM) เป็นต้น ส่วนการแปลงสัญญาณแบบอนาลอกเป็นดิจิตอล จะเรียกว่า Demodulation ตัวอย่างของเครื่องมือในการแปลงระหว่างสัญญาณทั้งสองก็คือ Modem (Modulation DEModulation) นั่นเอง
ลักษณะและความแตกต่างของ Analog & Digital
สัญญาณดิจิตอลมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากสัญญาณอนาล็อกเป็นอย่างมาก กล่าวคือ สัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณที่ไม่ต่อเนื่อง แต่มีลักษณะเป็นชิ้น ๆ หรือเป็นท่อน ๆ ซึ่งเรามีศัพท์เรียกลักษณะดังกล่าวว่า ดิสครีต (Discrete) และสัญญาณจะมีค่าได้เฉพาะค่าที่ก่าหนด ไว้ตายตัวเท่านั้น เช่น ในระบบดิจิตอลที่ใช้กันทั่วไปนั้นใช้สัญญาณระบบเลขฐานสอง (Binary) ซึ่งมีค่าเพียงสองระดับเท่านั้น จากรูป แสดงลักษณะของสัญญาณดิจิตอล ในกรณีนี้สัญญาณสามารถมีค่าที่ก่าหนดไว้สองระดับคือ 0 กับ 5 โวลต์ ตามรูปนี้สัญญาณมีค่า5 โวลต์ ในช่วงเวลาระหว่า t = 1 ถึง 2 กับในช่วงเวลาระหว่าง t = 3 ถึง 4 นอกจากช่วงเวลา ทั้งสองดังกล่าวสัญญาณมีค่า 0 โวลต์
ถ้าส่งสัญญาณนี้ไปตามสายหรือไปกับคลื่นวิทยุ เมื่อไปถึงปลายทางขนาดและรูปร่างของคลื่น อาจผิดเพี้ยงไปบ้าง ในทางปฏิบัติเราก่าหนดค่าขั้นต่่าของสัญญาณระดับสูง (VH min) และค่าขั้นสูงของสัญญาณระดับต่่า (VL max) ไว้ เพื่อให้สามารถแยกระดับแรงดันไฟฟ้า ทั้งสองจากสัญญาณดิจิตอลที่ ผิดเพี้ยนไปได้ โดยวิธีนี้ระบบที่รับสัญญาณดิจิตอลก็ยังสามารถท่างานได้อย่างถูกต้อง แม้ว่าสัญญาณที่ รับเข้ามาจะมีความผิดเพี้ยนค่อนข้างมาก ซึ่งเป็นจุดเด่นของระบบดิจิตอลที่เหนือกว่าระบบอนาลอกการเข้าใจความแตกต่างระหว่างสัญญาณอนาลอกและดิจิตอล ถือว่ามีความส่าคัญมากในการที่จะเข้าใจการสื่อสารข้อมูล สัญญาณอนาลอกเป็นสัญญาณที่มีความต่อเนื่อง และมีค่าตลอดช่วงของสัญญาณ เช่น เสียงพูด, เสียงดนตรี, วีดีโอ บางครั้งเรียกว่าบอร์ดแบนด์ หรือ สัญญาณมอดูเลท สัญญาณดิจิตอลเป็นกลุ่มของสัญญาณที่มีค่าไม่ต่อเนื่อง ภายในช่วงสัญญาณมีรูปแบบเป็นสัญญาณและเป็นเลขฐานสอง คือ มีค่า 2 ค่า เป็น 1 และ 0 สัญญาณดิจิตอลอาจจะเรียกว่า
เบสแบนด์
**ประเภทของวงจรดิจิตอล**
ระบบดิจิตอล อาจแบ่งออกได้เป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
1. ระบบดิจิตอลแบบคอมบิเนชัน (Combinational Digital System)
เป็นระบบที่สถานะของเอาท์พุตขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ หรือคอมบิเนชัน (Combination) ของสถานะอินพุต ล่าดับเหตุการณ์ในอดีตของอินพุต และเอาท์พุตไม่มีผลต่อการท่างานของวงจร วงจรในระบบนี้ได้แก่ วงจรตรรกะ (Logic Gates) แบบต่าง ๆ และวงจรที่พัฒนามาจากวงจรตรรกะ
2. ระบบดิจิตอลแบบซีเควนเชียล (Sequental Digital System)
เป็นระบบที่สถานะของเอาท์พุตขึ้นอยู่กับสถานะปัจจุบัน และสถานะก่อนหน้านั้นของทั้ง อินพุตและเอาท์พุต ล่าดับเหตุการณ์ในอดีตมีผลโดยตรงต่อสถานะของเอาท์พุต และเวลาเป็นตัวแปรตัวหนึ่ง ที่ควบคุมสถานะของเอาท์พุต วงจรในระบบนี้ได้แก่ วงจรฟลิปฟลอป (Flip Flop) แบบต่าง ๆ และวงจร ที่พัฒนามาจากวงจรฟลิปฟลอบ
3. ระบบดิจิตอลแบบควบคุมด้วยโปรแกรม (Program-Controlled Digital System)
เป็นระบบที่น่าวงจรแบบคอมบิเนชันและแบบซีเควนเชียลมาท่างานร่วมกัน โดยเพิ่มหน่วยความจ่า (Memory) ที่มีขนาดใหญ่พอเข้าไป ส่าหรับจดจ่าค่าสั่งต่าง ๆ ที่จะสั่งงานให้ระบบท่างานตามล่าดับ และ จดจ่าสถานะอินพุตเอาท์พุตก่อนหน้า ค่าสั่งทีเรียงล่าดับไว้นี้เรียกว่า โปรแกรม (Program) ระบบนี้จึงเป็นระบบที่ท่างานภายใต้การควบคุมของโปรแกรม ซึ่งมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ซอฟต์แวร์ (Software) สิ่งที่ตรงกันข้ามกับซอฟต์แวร์คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ซึ่งได้แก่ ชิ้นส่วนต่าง ๆ ที่น่ามาประกอบกันเป็น ตัวเครื่องของระบบ ระบบดิจิตอลแบบควบคุมด้วยโปรแกรม จึงเป็นระบบที่มีทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ในขณะที่ระบบดิจิตอลอีกสอบแบบที่กล่าวถึงก่อนหน้านี้มีแต่ฮาร์ดแวร์เพียงอย่างเดียว ตัวอย่างของระบบดิจิตอลแบบควบคุมด้วยโปรแกรมได้แก่ ระบบที่ใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor -Based System)
##ประเภทของสัญญาณอนาลอกและดิจิตอล##
เราคงเคยได้ยินค่าว่า "อนาลอกและดิจิตอล" กันมาบ้างแล้ว ข้อมูลต่างๆที่เดินทางผ่านช่องสัญญาณในระบบโทรคมนาคมมีอยู่สองแบบ คือ สัญญาณอนาลอกกับสัญญาณดิจิตอล ลักษณะของสัญญาณอนาลอก (Analog Signal) อยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและถูกส่งผ่านสื่อน่าสัญญาณไปยัจุดหมายที่ต้องการ เหมาะส่าหรับการส่งสัญญาณเสียงสนทนา (Voice) ส่วนสัญญาณดิจิตอล (Digital Signal) มีลักษณะการแบ่งสัญญาณเป็นช่วงๆ อย่างไม่ต่อเนื่อง ออกเป็นสองระดับเพื่อแทนสถานะสองสถานะ คือ สถานะของบิต "0" กับสถานะของบิต "1" ซึ่งเปรียบได้กับการปิดเปิดสวิทซ์ไฟฟ้า (0 หมายถึง ปิด 1 หมายถึง เปิด) เครื่องมืออีเลกทรอนิกส์ส่วนใหญ่ในปัจจุบันผลิตสัญญาณออกมาใน
รูปแบบสัญญาณดิจิตอลเกือบทั้งสิ้น แต่การส่งสัญญาณผ่านเครือข่ายโทรคมนาคมในปัจจุบัน ยังอยู่บน พื้นฐานของสายโทรศัพท์ธรรมดาซึ่งเป็นสัญญาณอนาลอกอยู่ ดังนั้นจึงต้องมีการแปลงสัญญาณผ่านอุปกรณ์ที่เรียกว่า โมเด็ม (MOdulation/DEMoldulation device ; MODEM) จึงจะสามารถสื่อสารข้อมูล ในระยะไกลได้แต่ในขณะเดียวกันทุกวันนี้ในองค์กรต่างๆ สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างเครื่องมือ อีเลกทรอนิกส์ในองค์กรได้ เช่น ระหว่างห้องท่างาน ระหว่างชั้น ระหว่างตึก การเดินสายสัญญาณ สามารถเลือกใช้สายที่น่าสัญญาณดิจิตอลได้เลย ก็ไม่จ่าเป็นต้องอาศัยโมเด็มช่วยแปลงสัญญาณอีก เช่น การสื่อสารในระบบ LAN
**ข้อดีและข้อเสียของระบบอนาลอกและดิจิตอล**
การพัฒนาเทคโนโลยีของไอซี ท่าให้มีการพัฒนาทางด้านดิจิตอล และน่ามาใช้ในเครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ มากขึ้น อุปกรณ์ดิจิตอล มีข้อดีหลายประการดังต่อไปนี้
1. การแสดงผลท่าให้เข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างเช่น การแสดงผลของแรงดันไฟฟ้าเป็นตัวเลขจาก เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้า
2. การควบคุมท่าได้ง่าย ตัวอย่างเช่นระบบควบคุมอุณหภูมิของเตาเผาที่มีระบบดิจิตอลเข้ามา เกี่ยวข้อง การท่างานของระบบ มีตัวตรวจอุณหภูมิที่เปลี่ยนอุณหภูมิเป็นระดับแรงดันที่เป็นสัญญาณ อนาลอก สัญญาณจะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอล ด้วยวงจรเปลี่ยนสัญญาณอนาลอกเป็นดิจิตอล แล้วป้อนเข้าสู่ส่วนประมวลผล (Central Processing Unit : CPU) ซี พี ยู จะท่างานตามเงื่อนไขที่ก่าหนดไว้ ถ้ามีอุณหภูมิสูงหรือต่่ากว่าที่ก่าหนด จะส่งสัญญาณออกที่เอาท์พุต เพื่อควบคุมการปิดเปิดเชื้อเพลิงใน เตาเผา การเปลี่ยนสัญญาณดิจิตอลให้กลับมาเป็นสัญญาณอนาลอกใช้วงจร D/A คอนเวอร์เตอร์ (Digital to Analog Converter) สัญญาณอนาลอกจะไปควบคุมการปิดเปิด การฉีดน้่ามันเชื้อเพลิงในเตาเผา เพื่อให้ได้อุณหภูมิตามที่ตั้งไว้ การเปลี่ยนอุณหภูมิสามารถปรับได้ โดยการเปลี่ยนค่าที่เก็บไว้ใน ซี พี ยู
3. ความเที่ยงตรง วงจรอนาลอก ท่าให้มีความเที่ยงตรงสูงได้ยาก เพราะปะรกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่มีค่าผิดพลาด และมีความไวต่อสิ่งแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ความชื้น จึงท่าให้อุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ มีคุณสมบัติเปลี่ยนไป เหมือนกับว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในวงจรอนาลอก เป็นเพราะแรงดันไฟฟ้า ส่วนอุปกรณ์ในวงจรดิจิตอลก็มีปัญหาเช่นเดียวกัน แต่วงจรสามารถควบคุมการท่างานได้ ถึงแม้ว่าสัญญาณจะผิดเพี้ยนไปบ้าง ก็ไม่มีผลต่อการท่างานของวงจรเพราะสภาวะ 1 กับ 0 ก่าหนดจากระดับแรงดัน
4. ผลกระทบต่อการส่งในระยะไกล เมื่อมีการส่งสัญญาณออกไปในระยะไกล ๆ ตามสายส่งหรือเป็นคลื่นวิทยุ จะมีการรบกวนเกิดขึ้นได้ง่าย เรียกว่า นอยส์ (noise) ตัวอย่างเช่น การส่งสัญญาณไปยัง ดาวเทียมจะมีการรบกวนเนื่องจากการแผ่รังสี จากฟ้าแลบ หรือจุดดับบนดวงอาทิตย์ท่าให้สัญญาณผิดเพี้ยนได้ง่าย ถ้าเป็นวงจรอนาลอก ความเชื่อถือได้ขึ้นกับแรงดันที่ปลายทางว่าเบี่ยงเบนไปจากต้นทางมามากน้อยแค่ไหน เป็นปัญหาที่เกี่ยวกับความต่างศักย์ ถ้าส่งเป็นสัญญาณดิจิตอลจะไม่มีปัญหานี้ เพราะสัญญาณอาจผิดไป จากต้นทางได้บ้างแต่ยังคงสภาวะ 1 หรือ 0
5. ความเชื่อมั่น สัญญาณดิจิตอลมีค่าความผิดพลาดน้อยกว่าสัญญาณอนาลอก ท่าให้วงจรที่ท่างานด้วยสัญญาณดิจิตอล มีความเชื่อถือได้มากกว่า เมื่อใช้แทนปริมาณต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น การบวกสัญญาณ ถ้าท่างานในลักษณะอนาลอก
คงจะได้ความกระจ่างกันแล้วนะครับ ต่อไปเรามาดูกันว่า ผลงานที่ออกมาของระบบทั้งสองแบบจะเป็นยังไงกันบ้าง
1. คุณภาพของสัญญาณภาพ สัญญาณภาพของระบบ Digital TV จะมีคุณภาพดี คมชัด อยู่เสมอ ต่างกับระบบ Analog TV ที่สัญญาณจะเปลี่ยนไปตามระดับความแรงของสัญญาณที่รับได้
2. คุณภาพของภาพ คุณภาพภาพในระบบ Digital TV จะสูงมากกว่าระบบ Analog TV โดย
- ระบบ Digital TV ความละเอียดของภาพสูงสุดจะอยู่ในระดับ Full High Definition (Full HD) 1080p – Picture is 1920 x 1080 pixels, sent at 60 frame/sec
- ส่วนในระบบ Analog TV ความละเอียดของภาพสูงสุดจะอยู่ในระดับเพียง Standard definition (SD) 480p – Picture is 704 x 480 pixels, sent at 60 complete frame/sec เท่านั้น
- ในส่วนของอัตราส่วนของภาพ ระบบ Digital TV จะเป็น จอกว้าง 16:9 แต่ระบบ Analog TV จะเป็นเพียง 4:3 เท่านั้น
3. คุณภาพเสียง Digital TV จะส่งสัญญาณเสียงมาในระบบ Surround 5.1 channels ขณะที่ Analog TV จะส่งสัญญาณเสียงมาในระบบ Stereo 2 channels |
4. ประสิทธิภาพการใช้คลื่นความถี่ ใน 1 ช่องความถี่ ขนาด 8 MHz ถ้าถ่ายทอดสัญญาณด้วยระบบ Analog TV จะส่งช่องรายการได้เพียงช่องรายการเดียว แต่ในขณะที่ระบบ Digital TV (DVB-T) ส่งสัญญาณในแบบ SDTV ได้ 8-10 รายการ หรือ HDTV 2 รายการ + SDTV 2 รายการ จึงเป็นการใช้งานคลื่นความถี่อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า |
1 ช่องสัญญาณ (8 MHz) |
5. รองรับรูปแบบบริการใหม่ๆ การให้บริการ Features ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นหลังจากที่มีการปรับเปลี่ยนการแพร่สัญญาณโทรทัศน์ภาคพื้นดินไปสู่ระบบ Digital ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นบริการที่ยังไม่เคยมีให้บริการมาก่อนในประเทศไทย เช่น Data broadcasting, Interactivity, Multimedia, Emergency warnings ฯลฯ
ได้ทราบข้อมูลกันครบถ้วนกันแบบนี้แล้ง คงอยากจะเปลี่ยนมาใช้ ทีวีระบบดิจิตอล กันแล้วใช่มั้ยครับ วิธีการก็ง่ายๆ ครับไม่ยุ่งยากเลย สามารถทำได้ด้วยตัวเอง หรือถ้าไม่ถนัด ก็บอกช่างมาติดตั้งให้ก็ได้ เสียค่าใช้จ่ายไม่กี่บาทก็สามารถ รับชมโทรทัศน์ ในระบบดิจิตอลกันได้แล้ว วิธีกการติดตั้งก็มีดังนี้ครับ
โทรทัศน์ในปัจจุบันก็จะมีวิธีการรับสัญญาน อยู่ด้วยกัน 3 แบบ นะครับ
1. แบบเสาอากาศ (หนวดกุ้ง-ก้างปลา) ธรรมดา ทีวี อนาล็อก แบบเก่า ต้องใช้ set top box รัฐบาลดำเนิการแจก คูปอง เพื่อนำไปแลก กับร้านค้าที่ร่วมมือ ครับ
2. แบบจานดาวเทียม ก็ถอดปลั๊กเครื่องรับออก และเสียบปลั๊กใหม่ ให้เครื่องรีเชต ระบบก็สามารถรับชมได้เลยครับ ทางช่อง 11 - 46
3.แบบเสาอากาศทีวีดิจิตอล ที่ใช้ ทีวีในระบบ ดิจิตอล โดยตรง ท่านสามารถต่อเข้ากับ ทีวีดิจิตอลของท่านและสามารถ รับชมได้เลยครับ
***การติดตั้งทั้ง 3 แบบ***
วีดีโอสาธิต วิธีการติดตั้ง
หรือติดตามข้อมูล เวปไซต์ของ กสทช. ตามลิงค์ได้ล่างครับ
**ขอบคุณข้อมูลจาก กสทช., PANTIP.COM และ ททบ.5 ครับ
***มองหาช่องทางสร้างได้อยู่ใช้มั้ย!! eliet-ssc เรามีระบบที่จะทำคุณประสบความสำเร็จได้อย่างง่ายดาย เพียงแค่คลิ๊ก!!***
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
Wikipedia
ผลการค้นหา